10. การให้คำนิยามเชิงปฏิบัติที่ใช้ในการวิจัย (Operational Defenitions)
http://cai.md.chula.ac.th/lesson/research/re12.htm กล่าวว่าในการวิจัย
อาจมี ตัวแปร (variables) หรือคำ (trms) ศัพท์เฉพาะต่าง ๆ ที่จำเป็นต้องให้คำจำกัดความอย่างชัดเจน
ในรูปที่สามารถสังเกต (observation) หรือวัด (measurement) ได้ ไม่เช่นนั้นแล้ว อาจมีการแปลความหมายไปได้หลายทาง ตัวอย่างเช่น คำว่า
คุณภาพชีวิต, ตัวแปรทีเกี่ยวกับความรู้ (ความรู้สูง, ปานกลาง, ต่ำ) ทัศนคติ (ดี-ไม่ดี), ความพึงพอใจ, ความปวด เป็นต้น
http://goo.gl/v9mA3 กล่าวว่าการให้คำนิยามเชิงปฏิบัติที่ใช้ในการวิจัย (Operational Defenitions) เป็นการให้ความหมายคำสำคัญบางคำ
ที่ใช้ในการวิจัย คำเหล่านั้นมีความหมายเฉพาะในการวิจัยครั้งนั้น
http://kalai.exteen.com/20051124/entry-6 กล่าวว่าการให้คำนิยามเชิงปฏิบัติที่ใช้ในการวิจัย (Operational Defenitions) หลักการให้คำนิยามตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยทุกตัวเป็นการให้คำนิยามเชิงปฏิบัติการที่ใช้ในการวิจัยเรื่องนั้น
ๆ
ทั้งนี้เนื่องจากคำศัพท์บางคำมีความหมายได้หลายคำจะให้เฉพาะความหมายที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เท่านั้น
ความหมายที่ให้จะเป็นความหมายเชิงปฏิบัติการ เป็นคำจำกัดความที่ให้ไว้เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจตรงกันกับผู้วิจัย
การให้ความหมายต้องทำอย่างระมัดระวัง ไม่ให้ค้านกับแนวคิดทฤษฎี
และมีความหมายที่แน่นอนชัดเจน วัดได้เป็นอย่าเดียวกันไม่ว่าใครวัด
การให้คำนิยามศัพท์ มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ
1. เพื่อให้เกิดความคงที่ของตัวแปรที่ศึกษา
ตลอดระยะเวลาของการวิจัย
2. เพื่อนำไปสู่การสร้างเครื่องมือวัดและวิธีการวัดตัวแปรนั้น
ๆ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
สรุป คำนิยามเชิงปฏิบัติที่จะใช้ในการวิจัย
ไว้ว่าในการวิจัยอาจมี ตัวแปร หรือคำศัพท์เฉพาะต่าง ๆ ที่จำเป็นต้องให้คำจำกัดความอย่างชัดเจน
ในรูปที่สามารถสังเกต หรือวัดได้ ไม่เช่นนั้นแล้ว อาจมีการแปลความหมายไปได้หลายทาง ตัวอย่างเช่น
คำว่า คุณภาพชีวิต, ตัวแปรที่เกี่ยวกับความรู้ ทัศนคติ ,
ความพึงพอใจ, ความปวด
เป็นต้นเป็นข้อความที่กำหนดวิธีการต่างๆที่สามารถนำไปปฏิบัติหรือวัดค่าของตัวแปรนั้นออกมาได้
โดยการระบุกิจกรรหรือการดำเนินงานที่จำเป็นต่อการวัดตัวแปร
ซึ่งเปรียบเสมือนคู่มือของผู้วิจัยในการวัดค่าตัวแปรนั้น
....................................................................................................................................................................................................
อ้างอิง
- http://cai.md.chula.ac.th/lesson/research/re12.htm เข้าถึงเมื่อ 24/11/2555
- http://goo.gl/v9mA3 เข้าถึงเมื่อ 24/11/2555
- http://kalai.exteen.com/20051124/entry-6 เข้าถึงเมื่อ 24/11/2555
สรุป คำนิยามเชิงปฏิบัติที่จะใช้ในการวิจัย ไว้ว่าในการวิจัยอาจมี ตัวแปร หรือคำศัพท์เฉพาะต่าง ๆ ที่จำเป็นต้องให้คำจำกัดความอย่างชัดเจน ในรูปที่สามารถสังเกต หรือวัดได้ ไม่เช่นนั้นแล้ว อาจมีการแปลความหมายไปได้หลายทาง ตัวอย่างเช่น คำว่า คุณภาพชีวิต, ตัวแปรที่เกี่ยวกับความรู้ ทัศนคติ , ความพึงพอใจ, ความปวด เป็นต้นเป็นข้อความที่กำหนดวิธีการต่างๆที่สามารถนำไปปฏิบัติหรือวัดค่าของตัวแปรนั้นออกมาได้ โดยการระบุกิจกรรหรือการดำเนินงานที่จำเป็นต่อการวัดตัวแปร ซึ่งเปรียบเสมือนคู่มือของผู้วิจัยในการวัดค่าตัวแปรนั้น
....................................................................................................................................................................................................
อ้างอิง
- http://cai.md.chula.ac.th/lesson/research/re12.htm เข้าถึงเมื่อ 24/11/2555
- http://goo.gl/v9mA3 เข้าถึงเมื่อ 24/11/2555
- http://kalai.exteen.com/20051124/entry-6 เข้าถึงเมื่อ 24/11/2555
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น